Page 30 - _cover21-0689_final_Ebook
P. 30

และหน่วยงานที�เกี�ยวข้องรับความเห็นของกระทรวงการอุดมศั่กษา วิทยาศัาสตร์ วิจำัยและนวัตกรรม
               และสำานักงานคณะกรรมการพิัฒนาการเศัรษฐกิจำและสังคมแห่งชาติ ที�เห็นควรมีการบริหารจำัดการการฟุ้งกระจำาย

               ของแร่ใยหินในวัสดุต่าง ๆ ที�หมดอายุการใช้งานในชุมชน และส่งเสริมให้มีการวิจำัยเพิ้�อผลิตผลงานผลิตภัณฑ์์
               ทางเล้อกทดแทนการใช้แร่ใยหินในประเทศัไทย นอกจำากนี� ให้หน่วยงานที�รับผิดชอบเร่งหาร้อและแลกเปลี�ยน
               ข้อมูลผลกระทบกับผู้ประกอบการ เพิ้�อกำาหนดมาตรการบรรเทาผลกระทบให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภค
               โดยให้มีผู้ที�ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง (Third party) เข้าร่วมการหาร้อด้วย รวมทั�งให้กระทรวงการคลัง

               และกระทรวงทรัพิยากรธิรรมชาติและสิ�งแวดล้อมไปพิิจำารณาร่วมกันถ่งความเหมาะสมในส่วนของการจำัดตั�งกองทุน
               ช่วยเหล้อผู้ได้รับผลกระทบจำากแร่ใยหินไปพิิจำารณาดำาเนินการในส่วนที�เกี�ยวข้องด้วย

                                 2)   เห็นชอบแนวทางการบริหารจำัดการความเป็นอันตรายของแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์
               แนวทางที� 2 ห้ามนำาเข้าแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ และผลิตภัณฑ์์ที�มีส่วนประกอบของแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์
               เฉพิาะกรณี และห้ามผลิตผลิตภัณฑ์์ที�มีส่วนประกอบของแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ ที�ใช้วัตถุดิบอ้�นหร้อ
               ใช้ผลิตภัณฑ์์อ้�นทดแทนได้ โดยใช้อำานาจำตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย กฎหมายว่าด้วยการส่งออกไปนอก

               และการนำาเข้ามาในราชอาณาจำักรซ่�งสินค้า กฎหมายว่าด้วยโรงงานและกฎหมายว่าด้วยมาตรฐาน
               ผลิตภัณฑ์์อุตสาหกรรม ตามความเห็นของกระทรวงอุตสาหกรรม
                                 3)   ให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับไปจำัดทำาแผนในการยกเลิกการนำาเข้า ผลิต และจำำาหน่าย

               แร่ใยหินและผลิตภัณฑ์์ที�มีแร่ใยหินเป็นส่วนประกอบทุกชนิด ทั�งนี� ให้กำาหนดกรอบเวลาที�ชัดเจำนในการ
               ดำาเนินการตามแผนด้วยแล้วนำาเสนอคณะรัฐมนตรีพิิจำารณาต่อไป
                                 4)   ให้กระทรวงการคลังรับไปตรวจำสอบว่า สาเหตุที�สินค้าที�ใช้วัตถุดิบอ้�นเป็นส่วนประกอบ

               แทนแร่ใยหินมีราคาสูงข่�นเน้�องมาจำากต้นทุนหร้อการเพิิ�มอัตราภาษี
                                 5)  ให้กระทรวงสาธิารณสุขรับไปศั่กษาผลกระทบของแร่ใยหินที�มีต่อสุขภาพิของผู้ใช้
               แรงงานที�ทำางานสัมผัสแร่ใยหินและผู้บริโภคที�ใช้ผลิตภัณฑ์์ที�มีส่วนประกอบของแร่ใยหินโดยให้จำัดลำาดับ

               ความสำาคัญเพิ้�อจำะได้กำาหนดมาตรการในการป้องกันผู้ได้รับผลกระทบได้อย่างมีประสิทธิิภาพิ
                          1.2.3  มติสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ ครั�งที� 12 เม้�อวันที� 19 ธิันวาคม 2562 เคร้อข่าย
               ภาคประชาสังคม และหน่วยงานที�เกี�ยวข้อง ได้เสนอประเด็น “การพิิจำารณาทบทวนมติสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ

               มาตรการทำาให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน” ซ่�งสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ ครั�งที� 12 ได้มีข้อแสนอ ดังนี�
                                 1)   ขอให้กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงมหาดไทย เร่งรัดดำาเนินการยกเลิก
               การใช้แร่ใยหินชนิดไครโซไทล์เป็นวัตถุดิบในการผลิตภายในปี พิ.ศั. 2565 เน้�องจำากมีผลิตภัณฑ์์อ้�นทดแทน

               หร้อใช้วัสดุอ้�นทดแทนแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ได้อย่างเหมาะสมเพิียงพิอแล้ว ประกอบด้วย กระเบ้�องแผ่นเรียบ
               และกระเบ้�องยางปูพิ้�น และยกเลิกการใช้แร่ใยหินชนิดไครโซไทล์เป็นวัตถุดิบในการผลิตภายในปี พิ.ศั. 2568
               ประกอบด้วย ผ้าเบรกและคลัทช์ ท่อซีเมนต์ใยหิน และกระเบ้�องมุงหลังคา

                                 2)   ขอให้กระทรวงพิาณิชย์เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรม
               กระทรวงการคลัง และหน่วยงานที�เกี�ยวข้อง กำาหนดแนวทางและมาตรการในการยกเลิกการนำาเข้าแร่ใยหิน
               และผลิตภัณฑ์์ที�มีแร่ใยหินเป็นส่วนผสม และการสนับสนุนให้มีมาตรการที�ทำาให้การใช้วัสดุทดแทนแร่ใยหิน

               มีราคาที�ถูกลง
                                 3)   ขอให้กระทรวงทรัพิยากรธิรรมชาติและสิ�งแวดล้อมเป็นหน่วยงานหลักร่วมกับ
               กระทรวงมหาดไทยและหน่วยงานที�เกี�ยวข้อง ดำาเนินการให้มีมาตรการในการกำาจำัดขยะที�มีแร่ใยหิน

               และกำาหนดมาตรการให้ผู้ประกอบการรับผิดชอบในการกำาจำัดผลิตภัณฑ์์ที�มีแร่ใยหินเป็นส่วนประกอบ





     18               ข้อแนะนำ�ท�งวิช�ก�รในก�รจััดก�รขยะจั�กก�รก่อสร้�ง ร้�อถอน แลิะซ่่อมแซ่มอ�ค�รท่�ม่แร่ใยหิิน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35