Page 25 - _cover21-0689_final_Ebook
P. 25

2.2 วัสดุทดแทน มีสองลักษณะ ค้อ แทนแร่ใยหิน เช่น ไฟเบอร์กลาส ไมโครไฟเบอร์ แทนในกรณีที�ใช้
                  เป็นฉนวนหร้อวัสดุดูดซับเสียง แบบที�สอง ค้อ ทดแทนผลิตภัณฑ์์ เช่น หลังคาโลหะกัลป์วาไนซ์ กระเบ้�องดินเผา

                  แทนหลังคาที�มีแร่ใยหินเป็นส่วนผสม โดยผลิตภัณฑ์์ที�มีการใช้วัสดุทดแทน ได้แก่
                           1)   หลังคาไฟเบอร์ซิเมนต์ (Fiber-cement roofing) ซ่�งใช้เส้นใยสังเคราะห์ (Polyvinyl alcohol,
                  polypropylene) และเส้นใยพิ้ช (Softwood craft pulp, bamboo, sisal, coir, rattan shavings

                  and tobacco stalks, etc.) รวมทั�งวัสดุทางเล้อก เช่น ฟูมซิลิก้า ขี�เถ้าลอย หร้อขี�เถ้า แกลบ เป็นต้น
                           2)   กระเบ้�องไมโครคอนกรีต (Microconcrete (Parry) tiles)
                           3)  แผ่นโลหะกัลวาไนซ์ (Galvanized metal sheets)

                           4)  กระเบ้�องดินเผา (Clay tiles)
                           5)  เส้นใยพิ้ชในยางมะตอย (Vegetable fibers in asphalt)

                           6)  Slate
                           7)  กระเบ้�องโลหะเคล้อบ (Coated metal tiles)
                           8)  กระเบ้�องมุงหลังคาอลูมินั�ม (Aluminum roof tiles)

                           9)   แผ่น uPVC มุงหลังคา
                           10) โพิลีโพิรไพิลีน (Polypropylene) และโพิลเอทธิิลีน (Polyethylene) ความหนาแน่นสูง

                  ที�นำากลับมาใช้ใหม่กับหินบด (Worldroof)
                           11) พิลาสติกเคล้อบอลูมินั�ม
                           12) พิลาสติกเคล้อบเหล็กกัลวาไนซ์

                         2.3 ก�รจััดก�รขยะท่�ม่แร่ใยหิิน ที�เกิดจำากโรงงานอุตสาหกรรม ได้ถูกควบคุมกำาหนดเป็นของเสีย
                  อันตรายที�ต้องได้รับการจำัดการอย่างถูกต้องภายใต้พิระราชบัญญัติโรงงาน พิ.ศั. 2535 ซ่�งในส่วนของขยะ

                  ที�มีแร่ใยหินที�เกิดจำากการก่อสร้าง ร้�อถอน และซ่อมแซมอาคาร ยังไม่ได้ถูกควบคุมเป็นขยะอันตรายภายใต้
                  กฎหมายต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้อง อาทิ พิระราชบัญญัติการสาธิารณสุข พิ.ศั. 2535 พิระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
                  พิ.ศั. 2522 ดังนั�น ในบางท้องถิ�นจำ่งมีการนำาไปฝัังกลบรวมกับขยะทั�วไป รวมทั�งผู้รับเหมาก่อสร้างหร้อ

                  ประชาชนทั�วไปได้นำาไปทิ�งหร้อฝัังกลบในที�ดินตนเองหร้อที�ดินว่างเปล่า ทั�งนี� ในปี พิ.ศั. 2559 - 2560
                  ศัูนย์วิชาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพิ จำุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำาเนินการร่วมกับองค์กรปกครอง

                  ส่วนท้องถิ�น 30 แห่งในจำังหวัดภาคเหน้อ ดำาเนินการเผยแพิร่ความรู้เกี�ยวกับแร่ใยหิน และสนับสนุนการออก
                  ข้อบัญญัติท้องถิ�นเพิ้�อป้องกันอันตรายจำากวัสดุที�มีแร่ใยหิน แต่สำาหรับท้องถิ�นอ้�น ๆ ยังไม่มีการให้ความรู้และ
                  ออกข้อบัญญัติในการกำากับดูแลการจำัดการขยะที�มีแร่ใยหินที�เกิดจำากการก่อสร้าง ร้�อถอน และซ่อมแซมอาคาร

                  และจำากกิจำกรรมอ้�น ๆ ส่งผลให้ขยะที�มีแร่ใยหินที�เกิดจำากภาคชุมชนยังคงไม่ได้รับการจำัดการอย่างถูกต้อง
                  ตามหลักวิชาการ





















                          ข้อแนะนำ�ท�งวิช�ก�รในก�รจััดก�รขยะจั�กก�รก่อสร้�ง ร้�อถอน แลิะซ่่อมแซ่มอ�ค�รท่�ม่แร่ใยหิิน  13
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30