Page 21 - _cover21-0689_final_Ebook
P. 21

และผู้จำัดการอาคารที�มีวัสดุใด ๆ หร้อผลิตภัณฑ์์ที�มีแร่ใยหินเป็นส่วนผสมในอาคาร วัตถุประสงค์ของโปรแกรม
                  ค้อ ลดการสัมผัสแร่ใยหินของผู้ที�อาศััยในอาคารเหล่านั�น และเน้�อหาของโปรแกรมมีวิธิีการทำางาน

                  เพิ้�อ (1) รักษาวัสดุที�มีแร่ใยหินเป็นส่วนผสมให้อยู่ในสภาพิดี (2) มั�นใจำว่าการทำาความสะอาดและกำาจำัด
                  แร่ใยหินที�หลุดออกมาเหมาะสม (3) ป้องกันการหลุดฟุ้งกระจำายของแร่ใยหิน และ (4) ตรวจำตราสภาพิของ
                  วัสดุที�มีแร่ใยหินเป็นส่วนผสม

                         ในปี พิ.ศั. 2533 องค์การพิิทักษ์สิ�งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกาห้ามใช้ฉนวนกันความร้อนที�มีแร่ใยหิน
                  พิ่นบนพิ้�นผิวในอาคารโครงสร้างท่อและท่อร้อยสายเว้นแต่จำะมีการระบุเง้�อนไขบางประการ (ดูมาตรฐานการ

                  ปล่อยมลพิิษทางอากาศัที�เป็นอันตรายแห่งชาติ (NESHAP) ที� 40 CFR 61 ซ่�งเป็นไปตามส่วนย่อย M) และในปี
                  พิ.ศั. 2562 องค์การพิิทักษ์สิ�งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศัใช้กฎระเบียบเพิ้�อเสริมสร้างความสามารถ
                  ของหน่วยงานในการตรวจำสอบรายการผลิตภัณฑ์์ใยหินก่อนที�จำะจำำาหน่ายในสหรัฐอเมริกา การดำาเนินการนี�

                  ทำาให้องค์การพิิทักษ์สิ�งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกา มีอำานาจำในการห้ามใช้ผลิตภัณฑ์์เหล่านี�หร้อกำาหนดข้อจำำากัด
                  การใช้แร่ใยหิน เพิ้�อปกป้องสุขภาพิของประชาชน ซ่�งองค์การพิิทักษ์สิ�งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกาไม่อนุญาต

                  ให้ใช้แร่ใยหินใหม่ ผู้ผลิตที�อยู่ภายใต้กฎระเบียบจำะต้องแจำ้งให้องค์การพิิทักษ์สิ�งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกา
                  ทราบอย่างน้อย 90 วัน ก่อนที�จำะเริ�มการผลิต การนำาเข้า หร้อผลิตภัณฑ์์ที�มีแร่ใยหินซ่�งอยู่ภายใต้กฎระเบียบ
                  โดยองค์การพิิทักษ์สิ�งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกาจำะดำาเนินการตรวจำสอบอย่างละเอียดและกำาหนดข้อจำำากัด

                  ที�จำำาเป็นรวมถ่งการห้ามใช้ (United States Environmental protection Agency, 2563).
                         1.2 ประเทศแคน�ด� ได้ออกประกาศัห้ามนำาเข้า ผลิต และใช้ผลิตภัณฑ์์ที�มีแร่ใยหิน ซ่�งมีผลบังคับใช้

                  วันที� 30 ธิันวาคม 2561 ซ่�งมีข้อยกเว้นที�ยังคงอนุญาตให้ใช้ในอุตสาหกรรมคลอร์อัลคาไลกิจำการด้านการ
                  ทหาร อุตสาหกรรมนิวเคลียร์ และการสกัดแมกนีเซียมจำากกากแร่ใยหิน (Mesothelioma Center, 2563)
                         1.3 ประเทศรัสเซ่่ย เป็นประเทศัผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก ซ่�งปัจำจำุบันยังคงผลักดันกับประเทศัต่าง ๆ

                  และในเวทีการประชุมระดับโลก เช่น ที�ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ ให้มีการใช้แร่ใยหินในการผลิต
                  ผลิตภัณฑ์์ต่อไป (ศัูนย์ข้อมูลไครโซไทล์, 2563)

                         1.4 ประเทศเก�หิลิ่ใต่้ มีการตรากฎหมาย The Asbestos Safety Management Act เม้�อวันที�
                  27 เมษายน 2555 เพิ้�อควบคุมแร่ใยหิน เช่น เม้�อจำะมีการร้�อถอนอาคารหร้อเคล้�อนย้ายวัสดุแร่ใยหิน ต้องมี
                  การรายงานผู้ว่าราชการจำังหวัด พิร้อมทั�งแจำ้งรายละเอียด ดังนี� (1) ช้�อและที�อยู่ของสถานที�ที�ดำาเนินการ

                  ร้�อถอนหร้อกำาจำัดแร่ใยหิน (2) รายละเอียดของงานร้�อถอน (3) ระยะเวลาสำาหรับการร้�อถอน (4) ข้อมูลอ้�น ๆ
                  ที�ต้องเปิดเผยต่อสาธิารณชนเกี�ยวกับงานร้�อถอนหร้อกำาจำัดแร่ใยหิน และรัฐบาลมีนโยบายให้มีการร้�อถอน

                  กระเบ้�องมุงหลังคาเก่า โดยรัฐบาลออกค่าใช้จำ่ายค่ากระเบ้�องมุงหลังคาใหม่ให้ส่วนหน่�ง (Food and
                  Agriculture Organization, 2563)
                         1.5 องค์ก�รแรงง�นระหิว่�งประเทศ (International Labour Organization: ILO) ได้เริ�ม

                  ดำาเนินการเพิ้�อพิิทักษ์สุขภาพิคนทำางานที�ต้องสัมผัสแร่ใยหินในปี พิ.ศั. 2529 โดยจำัดทำาอนุสัญญาองค์การ
                  แรงงานระหว่างประเทศัฉบับที� 162 ว่าด้วยแร่ใยหิน (ILO Asbestos Convention หมายเลข 162)

                  ซ่�งกำาหนดให้มีมาตรการป้องกัน ควบคุมและปกป้องคนทำางานจำากภัยสุขภาพิที�เกิดจำากการสัมผัสแร่ใยหิน
                  ขณะทำางาน โดยเฉพิาะการใช้สารทดแทนแร่ใยหิน การห้ามใช้แร่ใยหินในกระบวนการทำางานบางส่วน
                  การป้องกันฝัุ�นแร่ใยหินฟุ้งกระจำายในที�ทำางาน และการลดความเข้มข้นของแร่ใยหินในอากาศับริเวณที�ทำางาน

                  ให้ตำ�าที�สุด  ทั�งนี�  ประเทศัไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบันกับอนุสัญญาดังกล่าว  ต่อมาในปี  พิ.ศั.  2549






                          ข้อแนะนำ�ท�งวิช�ก�รในก�รจััดก�รขยะจั�กก�รก่อสร้�ง ร้�อถอน แลิะซ่่อมแซ่มอ�ค�รท่�ม่แร่ใยหิิน  9
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26