Page 23 - _cover21-0689_final_Ebook
P. 23
1.7 ธิ์น�ค�รโลิก (World Bank) ในปี พิ.ศั. 2550 ธินาคารโลก ได้จำัดทำาแนวทางการจำัดการ
ด้านสิ�งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซ่�งระบุว่าการสร้างอาคารใหม่ควรหลีกเลี�ยงการใช้วัสดุที�มี
แร่ใยหินเป็นส่วนประกอบ (asbestos containing materials-ACM) และสำาหรับอาคารเก่านั�น ควรมีการระบุ
แหล่งสำาหรับการเฝั้าระวัง จำัดทำาแผนรองรับกรณีที�ต้องร้�อถอน รวมทั�งฝัึกอบรมพินักงานที�อาจำสัมผัสแร่ใยหิน
เพิ้�อลดการสัมผัส และในปี พิ.ศั. 2552 ธินาคารโลก ได้จำัดทำาเอกสาร “Good Practice Note: Asbestos:
Occupational and Community Health Issues” เพิ้�อย้นยันการลดการใช้แร่ใยหินและการปกป้อง
ประชาชนจำากการสัมผัสแร่ใยหิน ซ่�งการดำาเนินงานของธินาคารโลกเป็นการสะท้อนให้เห็นความเช้�อมโยง
ระหว่างธิุรกิจำกับการปกป้องสุขภาพิในเวทีนานาชาติ
2. ก�รจััดก�รขยะท่�ม่แร่ใยหิินในประเทศไทย
ประเทศัไทยมีการนำาเข้าแร่ใยหิน ตั�งแต่ปี พิ.ศั. 2518 โดยนำาเข้าประมาณ 42,541 ตัน ปริมาณการใช้
แร่ใยหินของประเทศัไทย มีปริมาณค่อนข้างคงที�ประมาณแสนกว่าตันมาโดยตลอด แต่ปริมาณลดลง
อย่างมากในปี พิ.ศั. 2542 เน้�องจำากเป็นช่วงวิกฤตเศัรษฐกิจำ หลังจำากนั�น มีแนวโน้มเพิิ�มมากข่�นจำนคงที�
ประมาณ 150,000 ตัน ในแต่ละปี และเริ�มลดลงอีกในปี พิ.ศั. 2550 – 2552 เน้�องจำากบริษัทแห่งหน่�ง
ยกเลิกการใช้ไครโซไทล์ โดยประเทศัไทยมีการใช้แร่ใยหิน จำำานวน 3 กิโลกรัม/คน/ปี ซ่�งคาดว่าจำะมีผู้ป�วยมะเร็ง
เย้�อหุ้มปอด (Mesothelioma) อย่างน้อย 1,295 คนต่อปี (สำานักงานที�ปร่กษาเศัรษฐกิจำและสังคมแห่งชาติ,
2563) หากเปรียบเทียบปริมาณการใช้แร่ใยหินในระดับโลก พิบว่า ประเทศัไทยมีการใช้มากเป็นอันดับที� 5
ของโลก โดยคิดเป็นปริมาณร้อยละ 11 ของปริมาณการใช้ในทวีปเอเชีย และร้อยละ 7 ของปริมาณการใช้ทั�วโลก
(Nadia Persaud, 2564) และจำากสถิติของกรมศัุลกากร พิบว่า มีการนำาเข้าแร่ใยหินชนิดไครโซไทน์
เข้ามาในประเทศัในปี พิ.ศั. 2553 – 2562 เฉลี�ยปีละ ประมาณ 28,000 ตัน โดยในปี พิ.ศั. 2562
มีการนำาเข้าแร่ใยหินชนิดไครโซไทน์ จำำานวน 31,193 ตัน โดยประเทศัไทยได้ดำาเนินการมาตรการทางกฎหมาย
ในการควบคุมแร่ใยหิน กำาหนดให้แร่ใยหินกลุ่มแอมฟิโบล์ (Amphiboles) เป็นวัตถุอันตรายชนิดที� 4
ภายใต้พิระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พิ.ศั. 2535 ได้แก่ 1) แร่ใยหิน ชนิด crocidolite (พิ.ศั. 2538) 2) แร่ใยหิน
ชนิด amosite (พิ.ศั. 2544) และ3) แร่ใยหิน ชนิด anthophyllite, actinolite และ tremolite (พิ.ศั. 2552)
กล่าวค้อ ห้ามมิให้มีการผลิต การใช้ การนำาเข้า-ส่งออก และการมีไว้ในครอบครอง โดยมีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ และปัจำจำุบันมีเพิียงแร่ใยหิน กลุ่มเซอร์เพินไทน์ (Serpentile)
ค้อ ไครโซไทล์ (chrysotile) ที�ยังคงมีการใช้งานอยู่ภายในประเทศั โดยกำาหนดให้เป็นวัตถุอันตรายชนิดที� 3
กล่าวค้อ การผลิต การนำาเข้า การนำาผ่าน การส่งออก หร้อการมีไว้ในครอบครองต้องได้รับใบอนุญาต
ข้อแนะนำ�ท�งวิช�ก�รในก�รจััดก�รขยะจั�กก�รก่อสร้�ง ร้�อถอน แลิะซ่่อมแซ่มอ�ค�รท่�ม่แร่ใยหิิน 11