Page 22 - _cover21-0689_final_Ebook
P. 22

องค์การแรงงานระหว่างประเทศัได้ประกาศัข้อแนะนำาหมายเลข 194 เกี�ยวกับการกำาหนดรายช้�อโรคจำากการ
               ทำางาน โดยให้ประเทศัสมาชิกกำาหนดรายช้�อโรคจำากการทำางาน เพิ้�อประโยชน์ต่อการป้องกัน บันท่กข้อมูล

               รายงาน และการจำ่ายเงินทดแทน กรณีเกิดโรคจำากการทำางานข่�น ทั�งนี� กำาหนดให้ “โรคมะเร็งที�เกิดจำากการสัมผัส
               แร่ใยหินขณะทำางาน” เป็น “โรคมะเร็งจำากการทำางาน” ในรายช้�อต้นแบบขององค์การแรงงานระหว่าง
               ประเทศัด้วย นอกจำากนี� ในปี พิ.ศั. 2549 องค์การแรงงานระหว่างประเทศัได้มีมติที�ประชุมให้มีการเลิกการใช้
               แร่ใยหินในอนาคตและมีการจำัดการที�เหมาะสมกับแร่ใยหินที�ได้ใช้มาแล้วในอดีต เพิ้�อปกป้องคนทำางาน

               จำากการสัมผัส การเจำ็บป�วยหร้อการเสียชีวิตจำากแร่ใยหิน และให้ยกเลิกมาตรการ “การใช้อย่างปลอดภัย”
               ในอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศัฉบับที� 162 ว่าด้วยแร่ใยหิน โดยเน้นยำ�าให้ประเทศัสมาชิก

               ให้สัตยาบันและปฏิิบัติตามมติที�ประชุมนี�และตามอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศัฉบับที� 162
               ว่าด้วยแร่ใยหิน และอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศัฉบับที� 139 ว่าด้วยมะเร็งจำากการทำางาน
               อย่างเคร่งครัดและเร่งด่วน รวมทั�งการส่งเสริมให้อนาคตมีการยกเลิกการใช้แร่ใยหินทุกชนิดส่งเสริมให้มีการ
               บ่งชี�และการจำัดการวัสดุที�มีแร่ใยหิน และสนับสนุนและช่วยเหล้อประเทศัสมาชิก เพิ้�อให้มาตรการเร้�อง

               ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการคุ้มครองคนงานจำากการสัมผัสแร่ใยหินไว้ในแผนงานระดับชาติ ทั�งนี�
               ประเทศัไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบันกับอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศัฉบับที� 162 ว่าด้วยแร่ใยหิน
               (International Labour Organization, 2563)

                      1.6 องค์ก�รอน�มัยโลิก (World Health Organization: WHO) เป็นหน่วยงานที�มีความ
               เชี�ยวชาญเฉพิาะทางของสหประชาชาติ ก่อตั�งข่�นในปี พิ.ศั. 2491 โดยมีจำุดมุ่งหมายเพิ้�อประสานความ
               ร่วมม้อระหว่างผู้ทำางานด้านสุขภาพิและหน่วยงานอ้�นเพิ้�อส่งเสริมสุขอนามัยของทุกคน ซ่�งมีบทบาทหลัก

               ในการดำาเนินงานเกี�ยวกับแร่ใยหิน โดยในปี พิ.ศั. 2549 ได้จำัดทำาประกาศั “Elimination of Asbestos-
               Related Diseases” ที�สอดคล้องกับมติที�ประชุมขององค์การแรงงานระหว่างประเทศั และเห็นด้วยกับการ
               ยกเลิกการใช้แร่ใยหินทั�วโลก โดยให้เหตุผลว่า สารก่อมะเร็งไม่มีระดับการสัมผัสที�ปลอดภัย และมีความเสี�ยง

               ต่อการเกิดโรคมะเร็งเพิิ�มข่�นในกลุ่มคนทำางานที�สัมผัสแร่ใยหินในปริมาณที�ตำ�า ดังนั�น วิธิีการที�มีประสิทธิิภาพิ
               สูงสุดที�จำะกวาดล้างโรคจำากแร่ใยหิน ค้อ การยุติการใช้แร่ใยหินทุกชนิด โดยเฉพิาะการใช้ซีเมนต์ผสมแร่ใยหิน
               ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เพิราะมีจำำานวนคนทำางานที�อาจำสัมผัสเป็นจำำานวนมาก ยากที�จำะลดการสัมผัสในกลุ่ม

               คนทำางานเหล่านั�น และแม้จำะก่อสร้างเสร็จำแล้ว แร่ใยหินก็อาจำจำะฟุ้งกระจำายอีก เม้�อมีการซ่อมแซมหร้อ
               ร้�ออาคารทิ�ง ที�สำาคัญ มีเส้นใยที�สามารถนำามาทดแทนแร่ใยหินได้แล้วสำาหรับผลิตภัณฑ์์บางชนิด รวมถ่ง
               กระเบ้�องมุงหลังคา ซ่�งมีหลายประเภทให้เล้อกใช้ทดแทนได้ด้วย ซ่�งจำะทำาให้มีความเสี�ยงต่อสุขภาพิ

               น้อยกว่าหร้อไม่มีเลย” และในปี พิ.ศั. 2550 การประชุมสมัชชาสุขภาพิโลก ครั�งที� 60 ได้มีมติที� 60.26
               มอบให้องค์การอนามัยโลกจำัดการรณรงค์ในระดับนานาชาติเพิ้�อกำาจำัดโรคที�เกี�ยวข้องกับแร่ใยหิน โดยเฉพิาะ
               ในประเทศัที�ยังมีการใช้แร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ องค์การอนามัยโลกร่วมกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศั

               ได้กำาหนดยุทธิศัาสตร์การกำาจำัดโรคที�เกี�ยวข้องกับแร่ใยหิน ค้อ 1) การกำาจำัดโรคกลุ่มนี�อย่างมีประสิทธิิภาพิ
               มากที�สุด ค้อ การเลิกใช้แร่ใยหินทุกชนิด 2) ควรให้ข้อมูลเกี�ยวกับการใช้สารทดแทนที�ปลอดภัยกว่าแร่ใยหิน
               และต้องร่วมกันพิัฒนาเทคโนโลยีและกลไกทางเศัรษฐกิจำที�จำะกระตุ้นการใช้สารทดแทน 3) ควรมีมาตรการ

               ในการป้องกันการสัมผัสแร่ใยหินที�อยู่ในอาคารและขณะทำาการร้�อถอน 4) ควรปรับปรุงระบบบริการ
               ทางการแพิทย์เพิ้�อให้สามารถตรวจำพิบผู้ป�วยแต่เนิ�น ๆ ให้การรักษาและให้การฟ้�นฟูทั�งทางการแพิทย์และ
               สังคม รวมทั�งการจำัดทำาทะเบียนผู้ที�มีประวัติสัมผัสแร่ใยหินทั�งในอดีตและปัจำจำุบัน (World Health

               Organization, 2563)





     10               ข้อแนะนำ�ท�งวิช�ก�รในก�รจััดก�รขยะจั�กก�รก่อสร้�ง ร้�อถอน แลิะซ่่อมแซ่มอ�ค�รท่�ม่แร่ใยหิิน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27