Page 7 - _cover21-0689_final_Ebook
P. 7

องค์การแรงงานระหว่างประเทศั จำัดทำาอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศัฉบับที� 162 ว่าด้วยแร่ใยหิน
                  ซ่�งกำาหนดให้มีมาตรการป้องกัน ควบคุมและปกป้องคนทำางานจำากภัยสุขภาพิที�เกิดจำากการสัมผัสแร่ใยหิน

                  ขณะทำางาน โดยเฉพิาะการใช้สารทดแทนแร่ใยหิน การห้ามใช้แร่ใยหินในกระบวนการทำางานบางส่วน การป้องกัน
                  ฝัุ�นแร่ใยหินฟุ้งกระจำายในที�ทำางาน และการลดความเข้มข้นของแร่ใยหินในอากาศับริเวณที�ทำางานให้ตำ�าที�สุด
                  ทั�งนี� ประเทศัไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบันกับอนุสัญญาดังกล่าว องค์การอนามัยโลก (World Health Organization

                  : WHO) จำัดทำาประกาศั “Elimination of Asbestos-Related Diseases” และเห็นด้วยกับการยกเลิกการ
                  ใช้แร่ใยหินทั�วโลก โดยให้เหตุผลว่า “สารก่อมะเร็งไม่มีระดับการสัมผัสที�ปลอดภัย และมีความเสี�ยงต่อการเกิด
                  โรคมะเร็งเพิิ�มข่�นในกลุ่มคนทำางานที�สัมผัสแร่ใยหินในปริมาณที�ตำ�า โดยเฉพิาะการใช้ซีเมนต์ผสมแร่ใยหิน

                  ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เพิราะมีจำำานวนคนทำางานที�อาจำสัมผัสเป็นจำำานวนมาก โดยกำาหนดยุทธิศัาสตร์
                  การกำาจำัดโรคที�เกี�ยวข้องกับแร่ใยหิน รวมทั�งการจำัดทำาทะเบียนผู้ที�มีประวัติสัมผัสแร่ใยหินทั�งในอดีตและปัจำจำุบัน
                  และธินาคารโลก (World Bank) จำัดทำาแนวทางการจำัดการด้านสิ�งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

                  ซ่�งระบุว่าการสร้างอาคารใหม่ควรหลีกเลี�ยงการใช้วัสดุที�มีแร่ใยหิน พิร้อมทั�งจำัดทำาแผนรองรับกรณีที�ต้อง
                  ร้�อถอน รวมทั�งฝัึกอบรมพินักงานที�อาจำสัมผัสแร่ใยหินเพิ้�อลดการสัมผัส และในปี พิ.ศั. 2552 ธินาคารโลก
                  ได้จำัดทำาเอกสาร “Good Practice Note: Asbestos: Occupational and Community Health Issues”

                  เพิ้�อย้นยันการลดการใช้แร่ใยหินและการปกป้องประชาชนจำากการสัมผัสแร่ใยหิน ซ่�งการดำาเนินงาน
                  ของธินาคารโลก เป็นการสะท้อนให้เห็นความเช้�อมโยงระหว่างธิุรกิจำกับการปกป้องสุขภาพิในเวทีนานาชาติ
                         2.  การจำัดการขยะที�มีแร่ใยหินในประเทศัไทย มีการนำาเข้าแร่ใยหิน chrysotile เข้ามาในประเทศัในปี

                  พิ.ศั. 2553 - 2562 เฉลี�ยปีละ ประมาณ 28,000 ตัน โดยในปี พิ.ศั. 2562 มีการนำาเข้าแร่ใยหิน chrysotile
                  จำำานวน 31,193 ตัน โดยประเทศัไทยได้ดำาเนินการมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมแร่ใยหิน
                  กำาหนดให้แร่ใยหินกลุ่มแอมฟิโบล์ (Amphiboles) เป็นวัตถุอันตรายชนิดที� 4 ภายใต้พิระราชบัญญัติวัตถุอันตราย

                  พิ.ศั. 2535 แร่ใยหิน crocidolite, amosite, anthophyllite, actinolite และ tremolite ห้ามมิให้มีการผลิต
                  การใช้ การนำาเข้า-ส่งออก และการมีไว้ในครอบครอง และปัจำจำุบันมีเพิียงแร่ใยหิน กลุ่มเซอร์เพินไทน์
                  (Serpentile) ค้อ ไครโซไทล์ (chrysotile) ที�ยังคงมีการใช้งานอยู่ภายในประเทศั โดยกำาหนดให้เป็นวัตถุ

                  อันตรายชนิดที� 3 กล่าวค้อ การผลิต การนำาเข้า การนำาผ่าน การส่งออก หร้อการมีไว้ในครอบครองต้อง
                  ได้รับใบอนุญาต ซ่�งในส่วนของขยะที�มีแร่ใยหินที�เกิดจำากการก่อสร้าง ซ่อมแซม ต่อเติม และร้�อถอนอาคาร
                  ยังไม่ได้ถูกควบคุมเป็นขยะอันตรายภายใต้กฎหมายต่าง  ๆ  ที�เกี�ยวข้อง  และในปี  พิ.ศั.  2553

                  เคร้อข่ายภาคประชาชน ภาควิชาการ ภาครัฐ และผู้ที�เกี�ยวข้อง ได้ร่วมกันพิัฒนาข้อเสนอเข้าสู่การพิิจำารณา
                  ในสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ และได้รับฉันทามติจำากที�ประชุมสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ ครั�งที� 3 ในการผลักดัน
                  ให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน


                  นโยบ�ยแลิะกฎหิม�ยท่�เก่�ยวข้อง

                         1.  นโยบายการจำัดการขยะที�มีแร่ใยหิน อาทิ แผนยุทธิศัาสตร์การควบคุมและห้ามใช้แร่ใยหิน/

                  การกำาจำัดโรคที�เกี�ยวข้องกับแร่ใยหิน พิ.ศั. 2550-255 มติสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ และมติคณะรัฐมนตรี
                  มติสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ ครั�งที� 3 (มติคณะรัฐมนตรี เม้�อวันที� 12 เมษายน 2554) และมติสมัชชาสุขภาพิแห่งชาติ
                  ครั�งที� 12 (มติคณะรัฐมนตรี เม้�อวันที� 14 กรกฎาคม 2563)









                                    ข้อแนะนำ�ท�งวิช�ก�รในก�รจััดก�รขยะจั�กก�รก่อสร้�ง ร้�อถอน แลิะซ่่อมแซ่มอ�ค�รท่�ม่แร่ใยหิิน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12