ทำความรู้จัก ความร่วมมือระหว่างประเทศ ระดับประเทศ ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมมลพิษ
การพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ส าคัญที่ประเทศต่างๆ ก าหนดเป็น นโยบายเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันในระดับโลก ภูมิภาค อนุภูมิภาค และประเทศ เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศและกลุ่มสมาชิกในประเด็นต่างๆ ทั้งการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม รวมถึงประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่ปัจจุบันมีความส าคัญเพิ่มมากขึ้นจากผลกระทบของการพัฒนา และน าไปสู่การเชื่อมโยงเข้ากับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกภายหลัง ค.ศ. ๒๐๑๕ ตามเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal: SDGs) โดยมีการประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศในวาระ โอกาสต่างๆ เป็นกลไกขับเคลื่อนการด าเนินงานตามนโยบายและติดตามความคืบหน้าการด าเนินงานภายใต้ ความร่วมมือของประเทศสมาชิก
ซึ่งเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้จะประกอบด้วย
![]() |
ความร่วมมือเอเชีย (Asia Cooperation Dialogue: ACD) |
![]() |
ความร่วมมือการประชุมเอเชีย – ยุโรป (Asia Europe Meeting: ASE |
![]() |
ความร่วมมือกับองค์กรการค้าโลก ( World Trade Organization: WTO) |
![]() |
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก (Asia – Pacific Economic Cooperation: APEC) |
![]() |
ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลส าหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation: BIMSTEC) |
![]() |
ความร่วมมืออาเซียน หรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations: ASEAN) |
![]() |
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (Greater Mekong Subregion (GMS) Economic Cooperation) |
![]() |
ความร่วมมือลุ่มน้ำโขงกับญี่ปุ่น (Mekong – Japan Cooperation) |
![]() |
ความร่วมมือลุ่มน้ำโขงกับสาธารณรัฐเกาหลี (Mekong – ROK Cooperation) |
![]() |
ความร่วมมือแม่โขง – ล้านช้าง (Lancang – Mekong Cooperation: LMC) |
![]() |
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี – เจ้าพระยา – แม่โขง (Ayeyawady – Chao Phraya – Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) |
![]() |
แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย – มาเลเซีย – ไทย (The Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle: IMT – GT) |