แนวทางปฏิบัติในการจัดการของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอน
ถึงแม้ว่าของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนในประเทศไทยยังมีปริมาณไม่มากนัก แต่ได้ซ่อนปัญหาสิ่งแวดล้อมไว้มาก โดยของเสียประเภทนี้บางส่วนถูกทิ้งอย่างผิดกฏหมาย ปัจจุบันยังไม่มีการประกาศของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนเป็นขยะประเภทหนึ่ง แต่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของขยะชุมชนเท่านั้น
ซึ่งเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้จะประกอบด้วย
![]() |
เหตุผลและความจำเป็นด้านสิ่งแวดล้อมและวิถีคุณภาพชีวิตในการนำของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนกลับมาใช้ |
![]() |
ชนิดของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอน |
![]() |
ยุทธศาสตร์ในการป้องกันการเกิดของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนอย่างมีประสิทธิภาพ |
![]() |
กระบวนการและขั้นตอนปฏิบัติที่ดีที่สุดในงานก่อสร้าง |
![]() |
กระบวนการและวิธีฏิบัติที่ดีที่สุดของสถานที่รื้อถอนและสถานที่รีไซเคิล |
![]() |
การดำเนินงานโรงงานรีไซเคิลของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอน |
![]() |
ประเด็นที่เกี่ยวกับของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนที่เป็นอันตราย |
![]() |
ข้อเสนอแนะกระบวนการรีไซเคิลและวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด: การก่อสร้างและบำรุงรักษาถนน |
![]() |
การก่อสร้างและการดำเนินการสถานที่รีไซเคิลของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอน |
![]() |
ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์และการบริหารที่มีผลต่อการใช้ของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนซ้ำและการนำไปใช้ใหม่ |
![]() |
ข้อเสนอแนะในการดำเนินการในระดับต่างๆ |